Outreach in ICANN69
THNIC Foundation participated in ICANN69 and be a panelist of the ”Outreach for Addressing Universal Acceptance” session on October 19, 2020.
THNIC Foundation participated in ICANN69 and be a panelist of the ”Outreach for Addressing Universal Acceptance” session on October 19, 2020.
Thaiware Co., Ltd. was certified for its .ไทย UA-Ready websites https://thaiware.com and https:.//thaiware.co.th, since February 2020. The company has modified its email server and web application to be able to…
It is the first online EAI Hackathon in Thailand, during the COVID-19 lockdown. The activity aimed at enhancing the knowledge of the participants from THNG#9 camp. The hackathon participants…
สวัสดีครับผม วันนี้อาจมาช้าสักหน่อยนึงแต่รับรองว่าเรื่องที่ผมหยิบยกมาวันนี้เป็นเรื่องที่น่าสนใจมากและเป็นความภาคภูมิใจอย่างหนึ่งของคนไทยเลยก็ว่าได้ครับ โอ่โห่สุดยอดมากเลยใช่ไหมครับ และวันนี้ผมจะมานำเสนอเรื่องราวของโดเมนภาษาไทย กับ TLD ที่เป็น .th และ .ไทย และตบท้ายด้วยการทดลองใช้งาน email ที่เป็น @คน.ไทย ซึ่งมันเก๋ไก๋แจ่มว้าวมากเลย 555+ สืบเนื่องจากบทความที่แล้ว ที่ผมเกริ่นนำไปเกี่ยวกับ การจดทะเบียนโดเมนกับ GoDaddy ซึ่งหลายคนอาจจะสังเกตว่ามันต้องใช้ภาษาอังกฤษใช่ไหมครับ แล้วสมมติเราอยากได้โดเมนเป็นชื่อเรา แต่ดันชื่อไทยๆ ของเราเวลาเปลี่ยนแล้วทับศัพท์เป็นภาษาอังกฤษมันก็อาจจะไม่สวย หรือ ความหมายแปลก ๆ ไป เอาเป็นว่าวันนี้ผมมีสิ่งที่เรียกว่า โดเมนภาษาท้องถื่น หรือ Internationalized…
มูลนิธิศูนย์สารสนเทศเครือข่ายไทย (ทีเอชนิค) ส่งเสริมการใช้ชื่อเว็บไซต์ภาษาไทยภายใต้ชื่อโดเมน “.ไทย” เพื่อเพิ่มโอกาสให้คนไทยเข้าถึงเว็บไซต์ได้มากกว่า จดจำชื่อเว็บไซต์ได้ง่ายกว่า และมั่นใจได้ว่าเว็บไซต์ปลอดภัย ไม่ใช่เว็บไซต์ปลอม ดร.พจนันท์ รัตนไชยพันธ์ ผู้อำนวยการมูลนิธิทีเอชนิค กล่าวว่า “การที่มูลนิธิส่งเสริมให้เว็บไซต์ไทยใช้ชื่อโดเมน “.ไทย” เพื่อให้คนไทยสามารถใช้ภาษาไทยในการเข้าถึงเว็บไซต์ที่มีข้อมูลและบริการที่เป็นภาษาไทยได้อย่างสะดวกโดยไม่มีกำแพงด้านภาษามาเป็นอุปสรรค จะเห็นได้ว่าปัจจุบันมีผู้ใช้ชื่อเว็บไซต์ภาษาไทยที่เป็นโดเมน “.ไทย” เพิ่มขึ้น ตัวอย่างเช่น พระลาน.ไทย, ห้างฉัตร.ไทย, บ้านผือ.ไทย, กรมแพทย์ทหารเรือ.รัฐบาล.ไทย, กาญจนาภิเษก.ศึกษา.ไทย เป็นต้น การใช้ชื่อเว็บไซต์ภาษาไทยที่เป็นโดเมน “.ไทย” สามารถสื่อความหมายได้ชัดเจน จดจำง่าย ไม่ต้องแปลหรือทับศัพท์เป็นชื่อภาษาอังกฤษ สนับสนุนให้คนไทยสามารถเข้าถึงสินค้าและบริการต่าง ๆ ของภาคธุรกิจและภาคบริการสังคมได้สะดวกขึ้น เนื่องจากการใช้ภาษาไทยตั้งชื่อเว็บไซต์ตามชื่อของหน่วยงาน ประเภทสินค้าและบริการ…
ในช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมา คงไม่มีเว็บไซต์ไหนที่ฮอตฮิตเท่า www.เราไม่ทิ้งกัน.com ซึ่งเปิดให้ผู้ได้รับผลกระทบจากไวรัสโควิด-19 ลงทะเบียนรับเงินช่วยเหลือ 5,000 บาท แต่ก็ปรากฏว่าหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการลงทะเบียนประกาศแจ้งเตือนว่า เกิดเว็บไซต์ตั้งชื่อเลียนแบบมากมาย โดยเฉพาะที่ลงท้ายด้วย “.th” มีถึง 23 ชื่อเว็บไซต์ อาทิ เราไม่ทิ้งกัน.co.th, เราไม่ทิ้งกัน.in.th “ความจริง” ที่ควรรู้ในการจดทะเบียนโดเมนหรือชื่อเว็บไซต์ นั่นคือ แม้การจดทะเบียนโดเมนเนมเพื่อเป็นเจ้าของเว็บไซต์ต่าง ๆ จะง่ายแค่ปลายนิ้ว โดยเฉพาะเว็บไซต์ที่ลงท้ายด้วย “.com” หรือ “.net” แต่การจะจดชื่อเว็บไซต์ให้ลงท้ายด้วย “.th” ไม่ใช่เรื่องง่าย…
กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์ มหินทรายุธยามหาดิลก ภพนพรัตน์ราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์ มหาสถานอมรพิมาน อวตารสถิต สักกะทัตติยะ วิษณุกรรมประสิทธิ์ The script above is the ceremonial name of a Thai city that many of you may be travelling through to reach…
กรมประชาสัมพันธ์ เปิดเว็บไซต์โดยใช้ชื่อโดเมนภาษาไทย พระลาน.ไทย ในการประชาสัมพันธ์กิจกรรม ข่าวสาร และสื่อต่างๆ ..... เปิดใช้งานมาแล้ว .... มีผู้เข้าเยี่ยมชมมากกว่า 2 ล้านครั้ง เข้าชมเว็บไซต์ คลิ้ก http://พระลาน.ไทย
หลังจาก มูลนิธิศูนย์สารสนเทศเครือข่ายไทย หรือทีเอชนิค (THNIC Foundation) มีการเปิดตัว และส่งเสริมให้ธุรกิจ และคนไทยใช้ชื่อโดเมน หรือชื่ออีเมลที่เป็นภาษาไทยเพิ่มขึ้น เพื่อลดช่องว่างทางดิจิทัล และปรับให้เข้ากับนโยบาย Thailand 4.0 หลาย ๆ คนคิดว่าการใช้ชื่อโดเมน และชื่ออีเมลที่เป็นภาษาอังกฤษนั้น เพียงพอและเหมาะสมกับการสื่อสารแล้ว ซึ่งก็ถือว่าดีเพราะภาษาอังกฤษคือภาษาที่คนทั่วโลกใช้เป็นตัวกลางในการสื่อสารกัน แต่ถ้าคุณอยากสื่อสาร และเข้าถึงคนไทยได้ง่าย ๆ ภาษาอังกฤษอาจจะเป็นอุปสรรคในการเข้าถึง หรือการเข้าใช้บริการต่าง ๆ เนื่องจากการออกเสียง และการสะกดตัวอักษรอาจทำให้ผู้รับสารสับสนได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้คนในท้องถิ่น ที่ไม่สามารถเข้าถึง และเข้าใจภาษาอังกฤษได้มากนัก…
มูลนิธิศูนย์สารสนเทศเครือข่ายไทย หรือ ทีเอชนิค (THNIC) เสนอไอเดียกระทรวงดิจิทัลฯ หวังช่วยส่งเสริมให้มีการใช้ชื่อโดเมนและอีเมลเป็นภาษาไทย เชื่อว่าจะช่วยลดปัญหาช่องว่างทางดิจิทัล ขานรับนโยบายไทยแลนด์ 4.0 เกิดการพัฒนาที่ไม่ทิ้งใครไว้ข้างหลัง พจนันท์ รัตนไชยพันธ์ ผู้อำนวยการ มูลนิธิศูนย์สารสนเทศเครือข่ายไทย หรือทีเอชนิค (THNIC) กล่าวว่า ได้เข้าไปนำเสนอกับกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอี) เกี่ยวกับการส่งเสริมให้มีการใช้ชื่อโดเมนและอีเมลเป็นภาษาไทย เพื่อลดช่องว่างดิจิทัลด้านการสื่อสาร เนื่องจากปัจจุบันยังมีคนในท้องถิ่นส่วนหนึ่งที่ไม่ได้ใช้ภาษาอังกฤษ ทำให้เป็นอุปสรรคในการเข้าถึงหรือเข้าไปใช้บริการต่างๆ จากเว็บไซต์ที่ยังใช้แต่ชื่อภาษาอังกฤษเป็นส่วนใหญ่ ทั้งนี้ จากการศึกษาความสำคัญของปัญหาการไม่มีชื่อโดเมนและชื่ออีเมลเป็นภาษาท้องถิ่น ได้ข้อสรุปหลัก ๆ ว่า ความยากลำบากในการการจดจำและการสะกดชื่อโดเมนและชื่ออีเมลเป็นภาษาอังกฤษ ทำให้เกิดปัญหาในการสื่อสารและการเข้าถึงข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต …